แถวหน้ากระดานแถวเดียว
ท่าสัญญาณ :ผู้เรียกอยู่ในท่าตรง เหยียดแขนทั้งสองออกไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ แบมือ นิ้วทั้งห้าชิด ติดกัน หันฝ่ามือเข้าหากันและขนานกัน
ประโยชน์ : ใช้ตรวจเช็คหมู่ ใช้เล่นเกม
การเข้าแถว : ให้นายหมู่วิ่งมายืนในท่าตรงเป็นหลักข้างหน้าผู้เรียก โดยห่างจากผู้เรียก ประมาณ 6 ก้าว ลูกหมู่เข้าแถวหลังนายหมู่ ยืนให้ตรงคอนายหมู่ข้างหน้า
การจัดแถว : ให้ลูกเสือทุกคน (ยกเว้นนายหมู่ที่อยู่ข้างหน้า) ยื่นมือไปจดหลังท่อนบน ของผู้อยู่ข้าง หน้า ระยะเคียงระหว่างลูกเสือในหมู่ 1 ช่วงแขน
การตรวจแถว: เมื่อตรวจจัดแถว ผู้เรียกจะสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคน (ยกเว้นนายหมู่) ลดแขนลงอยู่ในท่า ตรง
* หมายเหตุ : แถวตอนเรียงหนึ่ง ในกรณีที่มีหลายหมู่จะเรียกว่า “แถวตอนหมู่”
แถวตอนเรียงหนึ่ง
ท่าสัญญาณ : ผู้เรียกอยู่ในท่าตรง เหยียดแขนทั้งสองออกไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ แบมือ นิ้วทั้งห้า ชิด ติดกัน หันฝ่ามือเข้าหากันและขนานกัน
ประโยชน์ : ใช้ตรวจเช็คหมู่ ใช้เล่นเกม
การเข้าแถว : ให้นายหมู่วิ่งมายืนในท่าตรงเป็นหลักข้างหน้าผู้เรียก โดยห่างจากผู้เรียก ประมาณ 6 ก้าว ลูกหมู่เข้าแถวหลังนายหมู่ ยืนให้ตรงคอนายหมู่ข้างหน้า
การจัดแถว : ให้ลูกเสือทุกคน (ยกเว้นนายหมู่ที่อยู่ข้างหน้า) ยื่นมือไปจดหลังท่อนบน ของผู้อยู่ข้าง หน้าระยะเคียงระหว่างลูกเสือในหมู่ 1 ช่วงแขน
การตรวจแถว: เมื่อตรวจจัดแถว ผู้เรียกจะสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคน (ยกเว้นนายหมู่) ลดแขนลงอยู่ในท่า ตรง
* หมายเหตุ : แถวตอนเรียงหนึ่ง ในกรณีที่มีหลายหมู่จะเรียกว่า “แถวตอนหมู่”
แถวตอนหมู่
ท่าสัญญาณ: ผู้เรียกอยู่ในท่าตรง เหยียดแขนทั้งสองออกไปข้างหน้าเสมอแนวไหล่ แบมือ นิ้วทั้งห้าชิด ติดกัน หันฝ่ามือเข้าหากันและขนานกัน
ประโยชน์ :ใช้เรียกรวมกอง ใช้เล่นเกม
การเข้าแถว :ให้หมู่หลัก (หมู่ที่อยู่กึ่งกลาง เช่น ลูกเสือมี 4 หมู่ หมู่ที่ 3 จะเป็นหมู่หลัก ถ้าลูกเสือมี 6 หมู่ หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 จะเป็นหมู่หลัก) เข้าแถวตอน ตรงหน้าผู้เรียก ห่างจากผู้เรียกประมาณ 6 ก้าว จากนั้นหมู่อื่น ๆ เข้าแถว ตอนเป็นแนวเดียวกันไปทางซ้ายและทางขวาของหมู่หลัก
การจัดแถว : ลูกเสือทุกหมู่ ให้นายหมู่อยู่ข้างหน้า แล้วตามด้วยลูกหมู่ รองนายหมู่จะอยู่ท้ายสุด ระยะ เคียงระหว่างลูกเสือในหมู่ 1: ช่วงแขน โดยให้ลูกเสือทุกคนยื่นมือขวาไปจดหลัง ท่อนบน ของลูกเสือที่ อยู่ข้างหน้าเป็นระยะต่อ 1 ช่วงแขน
ระยะเคียงระหว่างหมู่: 1 ช่วงศอก
การตรวจแถว : เมื่อตรวจจัดแถว ผู้เรียกจะสั่ง “นิ่ง” ลูกเสือทุกคน (ยกเว้นนายหมู่) ลดแขนลงอยู่ในท่าตรง
เงื่อนพิรอด
เป็นเงื่อนที่ใช้ประโยชน์มากในการดำเนินชีวิตประจำวันของเรา โดยเฉพาะการต่อปลายเชือก 2 ข้างเข้าด้วยกัน ซึ่งเงื่อนนี้จะแน่นมากแต่ก็แก้ออกได้ง่าย
ประโยชน์
1. ใช้ต่อเชือกขนาดเท่ากัน เหนียวเท่ากัน
2. ใช้ผูกปลายเชือกเส้นเดียวกัน เพื่อผูกมัดห่อสิ่งของและวัตถุต่างๆ
3. ใช้ประโยชน์ในการปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ เช่น ผูกชายผ้าพันแผล ผูกชายผ้า
4. ผูกเชือกรองเท้า ผูกโบ
เงื่อนขัดสมาธิ
เงื่อนขัดสมาธิเป็นเงื่อนที่มีประโยชน์ในการต่อเชือกที่มีขนาดต่างกัน หรือขนาดเท่ากัน โดยใช้เส้นใหญ่ทำเป็นบ่วง ส่วนเส้นเล็กเป็นเส้นพันขัด
ประโยชน์
1. ใช้ต่อเชือกขนาดต่างกัน หรือขนาดเดียวกันก็ได้
2. ใช้ต่อเชือกแข็งกับเชือกอ่อน (เส้นอ่อนเป็นเส้นพันขัด)
3. ใช้ต่อเชือกที่ค่อนข้างแข็ง เช่น เถาวัลย์
4. ใช้ผูกเชือกกับสิ่งที่มีลักษณะเป็นขอหรือหูอยู่แล้ว เช่น ธงชาติ
5. ใช้ต่อเส้นด้าย เส้นไหมทอผ้า
1. ใช้ต่อเชือกขนาดต่างกัน หรือขนาดเดียวกันก็ได้
2. ใช้ต่อเชือกแข็งกับเชือกอ่อน (เส้นอ่อนเป็นเส้นพันขัด)
3. ใช้ต่อเชือกที่ค่อนข้างแข็ง เช่น เถาวัลย์
4. ใช้ผูกเชือกกับสิ่งที่มีลักษณะเป็นขอหรือหูอยู่แล้ว เช่น ธงชาติ
5. ใช้ต่อเส้นด้าย เส้นไหมทอผ้า
เงื่อนบ่วงสายธนู
เงื่อนบ่วงสายธนู เป็นเงื่อนที่ไม่รูด ไม่เลื่อนเข้าไปรัดกับสิ่งที่ผูก ตัวบ่วงจะคงที่
ประโยชน์
1. ใช้ผูกสัตว์ไว้กับหลักหรือต้นไม้ เป็นเงื่อนที่ไม่รูดและไม่เลื่อนเข้าไปรัด กับหลัก
เพราะสามารถหมุนรอบได้
2. ใช้ผูกเรือกับหลัก เมื่อเวลาน้ำขึ้นหรือน้ำลงบ่วงจะเลื่อนขึ้นลงได้เอง
3. ใช้คล้องกันธนูเพื่อโก่งคันธนู
4. ใช้คล้องคนให้หย่อนตัวจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำแทนเงื่อนเก้าอี้
5. ใช้ผูกปลายเชือก ผูกถังตั้งหรือถังนอน
ประโยชน์
1. ใช้ผูกสัตว์ไว้กับหลักหรือต้นไม้ เป็นเงื่อนที่ไม่รูดและไม่เลื่อนเข้าไปรัด กับหลัก
เพราะสามารถหมุนรอบได้
2. ใช้ผูกเรือกับหลัก เมื่อเวลาน้ำขึ้นหรือน้ำลงบ่วงจะเลื่อนขึ้นลงได้เอง
3. ใช้คล้องกันธนูเพื่อโก่งคันธนู
4. ใช้คล้องคนให้หย่อนตัวจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำแทนเงื่อนเก้าอี้
5. ใช้ผูกปลายเชือก ผูกถังตั้งหรือถังนอน
เงื่อนประมง เงื่อนประมงเป็นเงื่อนที่ใช้สำหรับต่อเชือกที่มีขนาดเดียวกัน ซึ่งเป็นเงื่อนที่รู้จักกันทั่วไปอีกชื่อหนึ่งว่า เงื่อนหัวล้านชนกัน
ประโยชน์
1. ใช้ต่อเชือก 2 เส้นที่มีขนาดเดียวกัน
2. ใช้ต่อเชือกเส้นด้ายเล็กๆเช่น ด้ายเบ็ด ต่อเส้นเอ็น
3. ใช้ผูกคอขวดสำหรับถือหิ้ว(คอขวดที่มีขอบขวด)
4. ใช้ใช้ต่อเชือกที่มีขนาดใหญ่ที่ลากจูง
5. ใช้ต่อสายไฟฟ้า
ประโยชน์
1. ใช้ต่อเชือก 2 เส้นที่มีขนาดเดียวกัน
2. ใช้ต่อเชือกเส้นด้ายเล็กๆเช่น ด้ายเบ็ด ต่อเส้นเอ็น
3. ใช้ผูกคอขวดสำหรับถือหิ้ว(คอขวดที่มีขอบขวด)
4. ใช้ใช้ต่อเชือกที่มีขนาดใหญ่ที่ลากจูง
5. ใช้ต่อสายไฟฟ้า
เงื่อนปมตาไก่เงื่อนปมตาไก่เป็นเงื่อนที่ขมวดปลายเชือกให้เป็นปม แต่ถ้าต้องการให้ปมเชือกมีขนาด
ใหญ่ก็ขมวดหลายครั้ง
ประโยชน์
1. ใช้ผูกร้อยหูเต็นท์
2. ทำปมบันไดเชือก
3. สามารถผูกเป็นเงื่อนปากขวดได้
ใหญ่ก็ขมวดหลายครั้ง
ประโยชน์
1. ใช้ผูกร้อยหูเต็นท์
2. ทำปมบันไดเชือก
3. สามารถผูกเป็นเงื่อนปากขวดได้
เงื่อนผูกซุงเงื่อนผูกซุงเป็นเงื่อนที่ใช้สำหรับผูกสิ่งของต่างๆ ให้ยึดติดกันแน่น ซึ่งเป็นเงื่อนที่มี
ลักษณะพิเศษ คือ ผูกง่าย แก้ง่าย แต่เป็นเงื่อนที่ยิ่งดึงยิ่งแน่น ยิ่งดึงแรงมากเท่าไรก็จะยิ่ง
แน่นมากขึ้นเท่านั้น
ประโยชน์
1. ใช้ผูกวัตถุท่อนยาว ก้อนหิน ต้นซุง เสา เพื่อการลากโยง
2. ใช้ผูกทแยง
3. ใช้ผูกสัตว์ เรือ แพไว้กับท่าหรือเสาหรือรั้ว ต้นไม้
4. เป็นเงื่อนที่ผูกง่าย แก้ยาก
ลักษณะพิเศษ คือ ผูกง่าย แก้ง่าย แต่เป็นเงื่อนที่ยิ่งดึงยิ่งแน่น ยิ่งดึงแรงมากเท่าไรก็จะยิ่ง
แน่นมากขึ้นเท่านั้น
ประโยชน์
1. ใช้ผูกวัตถุท่อนยาว ก้อนหิน ต้นซุง เสา เพื่อการลากโยง
2. ใช้ผูกทแยง
3. ใช้ผูกสัตว์ เรือ แพไว้กับท่าหรือเสาหรือรั้ว ต้นไม้
4. เป็นเงื่อนที่ผูกง่าย แก้ยาก
เงื่อนตะกรูดเบ็ดเป็นเงื่อนที่ใช้งานต่างๆ มากมาย เช่น ผูกสิ่งของต่างๆ ผูกเหล็ก ผูกรั้ว ผูกตอม่อในการสร้างสะพาน ผูกแขวนรอก ผูกสมอเรือ ผูกบันได ผูกเบ็ด
ประโยชน์
1. ใช้ผูกเชือกกับเสาหรือหลักเพื่อล่ามสัตว์เลี้ยงหรือแพ
2. ใช้ผูกบันใดเชือก บันใดลิง
3. ใช้ในการผูกแน่น เช่น ผูกประกบ ผูกกากบาท
ประโยชน์
1. ใช้ผูกเชือกกับเสาหรือหลักเพื่อล่ามสัตว์เลี้ยงหรือแพ
2. ใช้ผูกบันใดเชือก บันใดลิง
3. ใช้ในการผูกแน่น เช่น ผูกประกบ ผูกกากบาท
เงื่อนผูกรั้ง
เงื่อนผูกรั้งเป็นเงื่อนที่ใช้ผูกยึดกับสิ่งอื่น ซึ่งเป็นเงื่อนที่มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถปรับ
ให้ตึงหรือหย่อนได้ตามความต้องการประโยชน์
1. ใช้ผูกเสาเต็นท์ ยึดเสาธงกันล้ม ใช้รั้งต้นไม้
2. เป็นเงื่อนเลื่อนให้ตึงหรือหย่อนตามความต้องการ
เงื่อนผูกรั้งเป็นเงื่อนที่ใช้ผูกยึดกับสิ่งอื่น ซึ่งเป็นเงื่อนที่มีลักษณะพิเศษ คือ สามารถปรับ
ให้ตึงหรือหย่อนได้ตามความต้องการประโยชน์
1. ใช้ผูกเสาเต็นท์ ยึดเสาธงกันล้ม ใช้รั้งต้นไม้
2. เป็นเงื่อนเลื่อนให้ตึงหรือหย่อนตามความต้องการ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น